.ตารางการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีการเรียนรู้


ที่
ทฤษฎี
แนวคิด
กุญแจสำคัญ
ตัวอย่างการนำไปประยุกต์ใช้
1
ทฤษฎีพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การตอบสนองจะเกิดขึ้น ก็ต่อเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
ก่อนวางเงื่อนไข
เสียงกริ่ง(cs ) ----- เด็กเฉยๆ
หมดคาบ(ucs) ----- เด็กดีใจ(ucr)
ขั้นวางเงื่อนไข
เสียงกริ่ง(cs)และหมดคาบ(ucs) ----  เด็กดีใจ(ucr)
หลังวางเงื่อนไข
เสียงกริ่ง(cs)----- เด็กดีใจ(cr)
2
ทฤษฎีวัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
การตอบสนองจะเกิดขึ้น ก็ต่อเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
เหตุ                  ผล              
1.วิชาภาษาไทย(cs) -เฉยๆ
 2.ครูดุ(ucs) -------เด็กไม่ชอบ(ucr)
3. วิชาภาษาไทย(cs) และครูดุ(ucs) --------เด็กไม่ชอบ(ucr)
4.วิชาภาษาไทย(cs)--เด็กไม่ชอบ(cr)
การวางเงื่อนไขกลับ
1.วิชาภาษาไทย(cs)---เด็กไม่ชอบ(Cr)
2.ครูจัดกิจกรรม(ucs) -เด็กชอบ(Ucr)
3.วิชาภาษาไทย(cs)และครูจัดกิจกรรม(ucs)----เด็กชอบ(ucr)
4.วิชาภาษาไทย(cs) --เด็กชอบ(cr)
3
ทฤษฎีธอร์ไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
การเรียนรู้มี 2 step
Stepที่1 เมื่ออินทรีย์เจอปัญหา อินทรีย์จะแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถูก
Stepที่2 เมื่ออินทรีย์เจอปัญหาเหมือนเมอีกครั้ง อินทรีย์จะแก้ปัญหาลองผิดลองถูกเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
ครูให้เด็กทดลองต่อจิ๊กซอร์รูปผลไม้ 12 ชิ้น เพื่อแสดงพฤติกรรมลองผิดลองถูกใช้เวลานานกว่าจะเสร็จเมื่อครูให้เด็ก
ทดลองครั้งที่2 เด็กสามารถต่อจิ๊กซอร์ได้เร็วกว่าครั้งที่1
ทดลองครั้งที่3 เด็กสามารถต่อจิ๊กซอร์ได้เร็วกว่าครั้งที่1 และ 2
ทดลองครั้งที่4 เด็กเกิดการเรียนรู้และจดจำ จนสามรถต่อจิ๊กซอร์ได้รวดเร็ว

4
ทฤษฎีสกินเนอร์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแน้วโน้มที่จะเกิดขึ้น  ส่วนการกระทำที่ไม่เสริมแรง มีแน้วโน้มกระทำนั้นๆ จะลดลงและค่อยหายไป
ขั้นที่ ก่อนการเรียนรู้
 R ตอบคำถาม----sr คำชมเชย
ขั้นที่ 2 หลังการเรียนรู้
 S คำถาม+sr คำชมเชย---------R ตอบ
 S คำถาม------- Rตอบ+sr คำถาม
5
ทฤษฎีเบนดูรา

การเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการลอกเลียนแบบเนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวอยู่เสมอ เป็นกระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธปัญญา
เด็กหญิงนี่นา เห็นเด็กหญิงมูนี ได้รับคำชมเชยจากครู เนื่องจากส่งการบ้านถูกต้อง และตรงต่อเวลา  ทำให้เด็กหญิงนี่นา พยายามทำการบ้าน ส่งตรงต่อเวลา  เพื่อจะได้รับคำชมเชยจากครูด้วย
6
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
 
หลัการเรียนรู้
1.      การรับรู้(perceptiom) ดป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับมัมผัสทั้ง 5 ส่วน คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
2.      การหยั่งเห็น(insight) การเกิดการแวบขึ้นทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหา โดยมองเห็นทางในการแก้ไขตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้
ครูสอนนักเรียนเกี่ยวกับต้นไม้  หลังจากนั้นครูสอนเกี่ยวกับส่วนต่างๆ ของต้นไม้ มี  ราก  ลำต้น  ใบไม้


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น